18 FEB 2022 บทความผลิตภัณฑ์ 8 นาทีในการอ่าน 1912 VIEWS

ดูแลหุ่นให้เป๊ะทุกมุม ปังได้ทุกวัน | นิตยสารอะชีฟ ฉบับมีนาคม 2565

ดูแลหุ่นให้เป๊ะทุกมุม ปังได้ทุกวัน

ไลฟ์สไตล์ในยุคนี้ทำให้คุณอ้วนง่ายขึ้นเพราะ

mar22-health2-03.png

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น

mar22-health2-04.png
ปรับชนิด ปริมาณและช่วงเวลาทานอาหาร

คุมอาหารให้ร่างกายได้รับพลังงานอย่างเพียงพอไม่มากไปจนเกิดการสะสมไขมัน

mar22-health2-07.png
ลดความเครียดและปรับพฤติกรรมในการพักผ่อน
mar22-health2-08.png
ออกกำลังกาย

เลือกออกกำลังกายที่เหมาะสมตามสภาวะร่างกาย



มารู้จัก HCA ตัวช่วยให้คุณมีหุ่นสวย

mar22-health2-05.png

HCA หรือ Hydroxy Citric Acid เป็นสารสกัดที่ได้จาก ผลส้มแขก มีประโยชน์ในการควบคุมน้ำหนัก และช่วยให้ออกกำลังกายได้นานขึ้นจากการเพิ่มการเผาผลาญไขมัน

mar22-health2-09.png

HCA ช่วยควบคุมน้ำหนัก ผ่านกลไกการออกฤทธิ์ที่สำคัญ ได้แก่

mar22-health2-10.png
1. ลดความอยากอาหาร

HCA จะกระตุ้นการหลั่ง Serotonin ในสมองทำให้ความอยากอาหารลดลงได้

mar22-health2-11.png
2. ลดและชะลอการสังเคราะห์ไขมันและโคเลสเตอรอล

HCA สามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ATP-Dependent Citrate Lyase จึงช่วยยับยั้งการสร้างกรดไขมันและโคเลสเตอรอลได้

mar22-health2-12.png
3. ลดและชะลอการย่อยคาร์โบไฮเดรต

HCA สามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ Alpha Amylase และ Alpha Glucosidase ที่ใช้ย่อยคาร์โบไฮเดรต



แข็งแรงแน่ๆ แค่เสริมภูมิคุ้มกัน

ความเสี่ยงที่ทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำลงมีอยู่มากมายรอบตัวเรา

mar22-health2-06.png

เสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ พร้อมลุยในทุกสถานการณ์

mar22-health2-13.png


เบตากลูเคน คือ สารอาหารชนิดหนึ่ง ที่ได้จากเห็ด ยีสต์ และธัญพืช เช่น บาร์เลย์ โอ๊ต

mar22-health2-24.png

mar22-health2-14.png
กระตุ้นการทำงานของเม็ดเลือดขาว
ช่วยให้ร่างกายต่อต้านสิ่งแปลกปลอมได้หลายชนิด

mar22-health2-24.png

mar22-health2-15.png
ป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และจุลินทรีย์

ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานดีขึ้น ส่งผลให้อาการภูมิแพ้ลดลง


เมล็ดเจีย คือ เมล็ดธัญพืชขนาดเล็ก มีสารอาหารสำคัญ ได้แก่ กรดไขมันโอเมกา 3 ใยอาหาร แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และสารต้านอนุมูลอิสระ

1. ช่วยคุมน้ำตาลและโคเลสเตอรอลในเลือด
mar22-health2-17.png
เมื่อละลายน้ำจะให้ความหนืด
mar22-health2-24.png
mar22-health2-18.png
ช่วยขัดขวางการดูดซึมไขมัน น้ำตาล โคเลสเตอรอล
2. ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
mar22-health2-19.png
มีกรดไขมันโอเมกา 3 ช่วยลดการจับตัวกันของเกล็ดเลือด
mar22-health2-24.png
mar22-health2-20.png
เลือดไม่ข้นหนืด
mar22-health2-24.png
mar22-health2-21.png
ทำให้เลือกไหลเวียนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้ดีขึ้น
3. มีสารต้านอนุมูลอิสระ

mar22-health2-25.pngป้องกันการเกิดโรคเรื้อรัง


mar22-health2-22.png

mar22-health2-25.pngสามารถชะลอวัยได้


mar22-health2-23.png


สังกะสี คือ เกลือแร่ที่มีองค์ประกอบของเอนไซม์กว่า 70 ชนิดในร่างกาย

ควบคุมและส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

ต่อต้านการเกิดสารอนุมูลอิสระ

มีส่วนช่วยในกระบวนการเมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน


mar22-health2-16.png


ขอบคุณข้อมูลวิชาการโดย
รศ.ดร.สุวิมล ทรัพย์วโรบล
อาจารย์ประจำภาควิชา โภชนาการและการกำหนดอาหาร คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


เอกสารอ้างอิง
Akramiene D, Kondrotas A, Didziapetriene J, Kevelaitis E. Effects of beta-glucans on the immune system. Medicina (Kaunas). 2007;43(8):597-606.
Conte A.A. A non-prescription alternative in weight reduction therapy. Am. J. Bariatr. Med. (1993), pp. 17-19
Downs B. W., M. Bagchi, G. V. Subbaraju, M. A. Shara, H. G. Preuss, and D. Bagchi, “Bioefficacy of a novel calcium-potassium salt of (-)-hydroxycitric acid,” Mutation Research, vol. 579, no. 1-2, pp. 149–162, 2005.
Esteghamati A, Mazaheri T, Rad MV, Noshad S. Complementary and alternative medicine for the treatment of obesity: a critical review. International Journal of Endocrinology and Metabolism. 2015;13(2).
Fernandez I,. Vidueiros SM, Ayerza R, Coates W, Pallaro A (2008) Impact of chia (Salvia hispanica L.) on the immune system: preliminary study Proceedings of the Nutrition Society, 67 (OCE), E12
Hayamizu K, Ishii Y, Kaneko I. Effects of long-term administration of Garcinia cambogia extract on visceral fat accummulation in humans: a placebo-controlled double blind trial. Journal of Oleo Science. 2001;50(10):43–50.
Heymsfield SB, Allison DB, Vasselli JR, Pietrobelli A, Greenfield D, Nunez C. Garcinia cambogia (hydroxycitric acid) as a potential antiobesity agent: a randomized controlled trial. Journal of the American Medical Association. 1998;280(18):1596–1600.
Ho, H., Sievenpiper, J., Zurbau, A. et al. A systematic review and meta-analysis of randomized controlled trials of the effect of barley β-glucan on LDL-C, non-HDL-C and apoB for cardiovascular disease risk reductioni-iv. Eur J Clin Nutr 70, 1239–1245 (2016).
Kovacs EMR, Westerterp-Plantenga MS, De Vries M, Brouns F, Saris WHM. Effects of 2-week ingestion of (-)-hydroxycitrate and (-)-hydroxycitrate combined with medium-chain triglycerides on satiety and food intake. Physiology and Behavior. 2001;74(4-5):543–549.
Lim K, Ryu S, Nho H, et al. (−)-Hydroxycitric acid ingestion increases fat utilization during exercise in untrained women. Journal of Nutritional Science and Vitaminology. 2003;49(3):163–167.
Lim K, Ryu S, Ohishi Y, et al. Short-term (−)-hydroxycitrate ingestion increases fat oxidation during exercise in athletes. Journal of Nutritional Science and Vitaminology. 2002;48(2):128–133.
Lowenstein JM. Effect of (−)-hydroxycitrate on fatty acid synthesis by rat liver in vivo. Journal of Biological Chemistry. 1971;246(3):629–632.
Mattes RD, Bormann L. Effects of (-)-hydroxycitric acid on appetitive variables. Physiology and Behavior. 2000;71(1-2):87–94.
Onakpoya I, Hung SK, Perry R, Wider B, Ernst E. The Use of Garcinia Extract (Hydroxycitric Acid) as a Weight loss Supplement: A Systematic Review and Meta-Analysis of Randomised Clinical Trials. J Obes. 2011;509038.
Ovacs EMR, Westerterp-Plantenga MS. Effects of (−)-hydroxycitrate on net fat synthesis as de novo lipogenesis. Physiology and Behavior. 2006;88(4-5):371–381.
Preuss HG, Bagchi D, Bagchi M, Rao CVS, Dey DK, Satyanarayana S. Effects of a natural extract of (-)-hydroxycitric acid (HCA-SX) and a combination of HCA-SX plus niacin-bound chromium and Gymnema sylvestre extract on weight loss. Diabetes, Obesity and Metabolism. 2004;6(3):171–180.
Preuss HG, Bagchi D, Bagchi M, Rao CVS, Satyanarayana S, Dey DK. Efficacy of a novel, natural extract of (-)-hydroxycitric acid (HCA-SX) and a combination of HCA-SX, niacin-bound chromium and Gymnema sylvestre extract in weight management in human volunteers: a pilot study. Nutrition Research. 2004;24(1):45–58.
Ramos R.R. , J.L. Saenz, C.F. Aguilar. Extract of Garcinia cambogia in controlling obesity. Invest. Med. Int., 22 (1995), pp. 97-100
Roman Ramos R, Flores Saenz J, Alarcon Aguilar en MCF. Control of obesity with Garcinia cambogia extract. Investigacion Medica Internacional. 1996;22(3):97–100.
Rondanelli M, Opizzi A, Monteferrario F. The biological activity of beta-glucans. Minerva Medica. 2009 Jun;100(3):237-245.
Roongpisuthipong C, Kantawan R, Roongpisuthipong W. Reduction of adipose tissue and body weight: effect of water soluble calcium hydroxycitrate in Garcinia atroviridis on the short term treatment of obese women in Thailand. Asia Pacific Journal of Clinical Nutrition. 2007;16(1):25–29
Segura-Campos MR, Salazar-Vega IM, Chel-Guerrero LA, Betancur-Ancona DA. Biological potential of chia (Salvia hispanica L.) protein hydrolysates and their incorporation into functional foods. LWT Food Sci Technol. 2013;50:723–731.
Westerterp-Plantenga MS, Kovacs EMR. The effect of (−)-hydroxycitrate on energy intake and satiety in overweight humans. International Journal of Obesity. 2002;26(6):870–872.